สาหร่ายสแกนดิเนเวีย เป็นสาหร่ายเซลล์เดียวจากประเทศแถบสแกนดิเนเวีย
ซึ่งเป็นสาหร่ายพันธุ์เฉพาะที่มีควาสามารถในการปรับตัว
และสามารถมีชีวิตอยู่รอดได้นานถึง 20 ปี แม้จะอยู่ในภาวะแวดล้อมที่ขาดสมดุลปราศจากน้ำและอาหาร
ทำให้สาหร่ายอุดมไปด้วย “แอสตาแซนธิน”
ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระสีแดงประสิทธภาพสูงสุดตามธรรมชาติ
และสามารถมีชีวิตอยู่รอดได้นานถึง 20 ปี แม้จะอยู่ในภาวะแวดล้อมที่ขาดสมดุลปราศจากน้ำและอาหาร
ทำให้สาหร่ายอุดมไปด้วย “แอสตาแซนธิน”
ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระสีแดงประสิทธภาพสูงสุดตามธรรมชาติ
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) เป็นสารในกลุ่มแซนโทรฟิลล์
ตระกูลแคโรทีนอยด์ ที่พบในธรรมชาติ เป็นสารสีแดง ปกติพบในปลาแซลมอน
ไข่ปลาคาเวียร์ เปลือกกุ้ง เปลือกปู และสาหร่าย Microalgae Haematococcus Pluvialis
ไข่ปลาคาเวียร์ เปลือกกุ้ง เปลือกปู และสาหร่าย Microalgae Haematococcus Pluvialis
ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์สารชนิดนี้ได้ เราจะได้รับสารชนิดนี้จากอาหารที่รับประทานเข้าไป ในปริมาณที่น้อยมาก เช่น ปลาแซลมอน 200 กรัม จะมีแอสตาแซนธิน เพียง 1 มิลลิกรัม
Astaxanthin นั้นมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยยับยั้ง ป้องกัน ฟื้นฟูและชลอวัย พบได้ในขนนกบางชนิด สัตว์น้ำบางชนิด เช่น ปลาแซลมอน กุ้ง ปู
รวมไปถึงปลาเทราท์ ฯ
(ที่มา: Healthline.com) หากลองสังเกตดูจะพบว่าสัตว์น้ำเหล่านี้เมื่อถูกนำมาผ่านกระบวนการปรุงอาหาร แล้ว
จะเปลี่ยนเป็นสีส้ม หรือแดง เพราะว่า Astaxanthin นั้นเป็น Carotenoid ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ และมีสีส้ม แดงถึงแดงเข้มซึ่งคล้ายกับสีแดงของทับทิม นอกจากนี้ยังมีมากในสาหร่ายขนาดเล็กที่ชื่อว่า Haematococcus
Pluvialis
อีกด้วย
Haematococcus Pluvialis เป็นสาหร่ายน้ำจืดสีเขียวที่มีขนาดเล็ก พบมากในกลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย และถือเป็นพืชเซลเดี่ยวที่มีความสามารถในการปรับตัว และมีชีวิตรอดอยู่ได้ นานแม้จะอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมต่อการเติบโต เช่น
ขาดน้ำ ขาดอาหาร ต้องเผชิญกับความร้อน แสงแดด โดยจะปรับตัวให้มีผนังเซลล์หนาขึ้น เพื่อสะสมสารต้านอนุมูลอิสระในกลุ่มแคโรทีนอยด์ซึ่งให้สีแดงเข้มที่เรียกว่า Astaxanthin เพิ่มขึ้น จึงทำให้สาหร่ายชนิดนี้สามารถเปลี่ยนสีกลายเป็นสีแดงได้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปกป้องตัวเองให้อยู่รอดได้ ซึ่งสาหร่าย
Haematococcus Pluvialis นี้มีสาร Astaxanthin อยู่มากที่สุด และนี่ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดงานค้นคว้าวิจัยจำนวนมากเกี่ยวกับคุณ ประโยชน์ที่ได้จากการบริโภคสารสกัดจากสาหร่ายชนิดนี้
ในงานวิจัยของ Seki et. al
(2001) ในกลุ่มผู้ทดลองทั้งชายและหญิง และใน 3 สภาพผิว คือ ผิวแห้ง ผิวธรรมดา และผิวมัน พบว่ากลุ่มผู้ทดลองใช้ครีมบำรุงที่มีส่วนผสมของ Astaxanthin ที่สกัดได้จากสาหร่าย Haematococcus
Pluvialis อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ผิวมีความชุ่มชื่นมากขึ้น ริ้วรอยต่างๆลดเลือนลง และผิวมีความยืดหยุ่นมากขึ้น
นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยอีกมากมายที่ชี้ให้ถึงประโยชน์อีกมากมายของ Astaxanthin
เช่น
- ลดอาการล้าของดวงตา (Yuan et al. 2011)
- ช่วยลดเลือนริ้วรอย และความเหี่ยวย่นของผิว (Natural Standard 2012)
- ช่วยให้ผิวมีความชุ่มชื่นมากขึ้น มีความยืดหยุ่นมากขึ้น และลดการเกิดสิวได้ (Yamashita 2006)
- สามารถต้านรังสี UVA จากการทำลายผิว (Suganuma et al. 2010)
- ช่วยลดปริมาณคลอเรสเตอรอลในร่างกาย รวมไปถึงการใช้เพื่อรักษาโรคต่างๆอีกมากมาย เช่น โรคปวดกล้ามเนื้อ หรือแม้แต่เป็นอาหารเสริมสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง (Healthline.com)
·
ความปลอดภัย
เราสามารถบริโภคแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ได้อย่างปลอดภัยเนื่องจากสารชนิดนี้เป็นส่วนหนึ่งในอาหารของมนุษย์มานานหลาย พันปีแล้ว ตัวอย่างเช่น ในปลาแซลมอนคุณภาพดีจะมีแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) บริสุทธิ์ประมาณ 3 - 6 มิลลิกรัม
เราสามารถบริโภคแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) ได้อย่างปลอดภัยเนื่องจากสารชนิดนี้เป็นส่วนหนึ่งในอาหารของมนุษย์มานานหลาย พันปีแล้ว ตัวอย่างเช่น ในปลาแซลมอนคุณภาพดีจะมีแอสตาแซนธิน (Astaxanthin) บริสุทธิ์ประมาณ 3 - 6 มิลลิกรัม
·
มีการทดลองทางคลินิก โดยรับประทานสารแอสตาแซนธิน จาก Microalgae
Haematococcus Pluvialis มากถึง 40 มิลลิกรัมเป็นประจำทุกวัน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ติดต่อกัน โดยไม่พบผลข้างเคียงใดๆและจากการทดสอบ Full
Acute & Sub Chronic, Ames Test & Gene Toxicity และการค้นหาเอกสารทางวิชาการทั่วโลกนั้นไม่พบรายงานที่มีผลข้างเคียงในทางลบ
·
และจากข้อมูล มีการนำ Microalgae
Haematococcus Pluvialis ซึ่งมีสารแอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
อยู่เป็นจำนวนมาก นำมาสกัดเป็นอาหารเสริมและได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในพื้นที่แถบสแกนดิเน เวีย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995 และสารแอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
มีการวางจำหน่ายอย่างแพร่หลายในตลาดตั้งแต่ปีค.ศ. 1999 จนถึงปัจจุบัน
·
ปัจจุบันแอสตาแซนธิน (Astaxanthin)
เป็นสารที่มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระได้ดีที่สุด แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) จึงเป็นสารต้านอนุมูลอิสระทางเลือกใหม่ ที่ให้ได้มากกว่าสารต้านอนุมูลอิสระชนิดอื่นๆ
·
แอสตาแซนธิน (Astaxanthin) มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระได้มีประสิทธิภาพ ดีกว่า
·
วิตามิน ซี 6,000 เท่า,
·
CoQ10 800 เท่า,
·
วิตามิน อี 550 เท่า,
·
Green tea catechins 550 เท่า,
·
Alpha lipoic acid 75 เท่า,
·
เบต้า แคโรทีน 40 เท่า
·
และ สารสกัดจากเมล็ดองุ่น 17 เท่า
References
1. Nishida Y.et.al, Quenching Acitivities of Common Hydrophillic and Lipophillic Antioxidants against Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science 11: 16-20 (2007)
2. Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl.Chem 1991 ; 63:141-6
3. Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7
4. Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001
5. Yamashita,(2006) The Effects of Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science 10:91-95
6. Nagaki et al., (2006) .The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia.J.Clin. Therap.Med.,22(1):41-54.
7. Sawaki,K.et al.(2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans.Journal of Clinical Therapeutics & Medicine 18(9):73-88.
8. Kupcinskas et al., Efficacy of the antioxidant astaxanthin in the treatment of functional dyspepsia in patients with or without Helicobacter pylori gastritis: a propective, randomized ,double blind, and placebo controlled study .Eur.J.Gastroent and Hepat.,(In Press).
9. Hiroshige Itakura, Astaxanthin Defends and Subdues Active Oxygen, Heart publishing co.,ltd, 21.
1. Nishida Y.et.al, Quenching Acitivities of Common Hydrophillic and Lipophillic Antioxidants against Singlet Oxygen Using Chemiluminescence Detection System. Carotenoid Science 11: 16-20 (2007)
2. Miki, W., Biological functions and activities of animal carotenoids. Pure and Appl.Chem 1991 ; 63:141-6
3. Shimizu, N., et al., Carotenoids as singlet oxygen quenchers in marine organisms. Fisheries Sci. 1996; 62: 134-7
4. Fuji Chemical Industry Co., Ltd., Outsourced test by Collaborative Labs, Setauket, NY 2001
5. Yamashita,(2006) The Effects of Dietary Supplement Containing Astaxanthin on Skin Condition. Carotenoid Science 10:91-95
6. Nagaki et al., (2006) .The supplementation effect of astaxanthin on accommodation and asthenopia.J.Clin. Therap.Med.,22(1):41-54.
7. Sawaki,K.et al.(2002) Sports performance benefits from taking natural astaxanthin characterized by visual activity and muscle fatigue improvements in humans.Journal of Clinical Therapeutics & Medicine 18(9):73-88.
8. Kupcinskas et al., Efficacy of the antioxidant astaxanthin in the treatment of functional dyspepsia in patients with or without Helicobacter pylori gastritis: a propective, randomized ,double blind, and placebo controlled study .Eur.J.Gastroent and Hepat.,(In Press).
9. Hiroshige Itakura, Astaxanthin Defends and Subdues Active Oxygen, Heart publishing co.,ltd, 21.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น